ธุรกิจส่วนใหญ่ ยอมรับว่าการบริการลูกค้ามีบทบาทสำคัญในการเติบโตและการพัฒนาของบริษัท “การบริการลูกค้าที่ไม่ดี” สามารถส่งผลกระทบมากกว่าที่คุณคิด 81% ของลูกค้าจะเปลี่ยนไปใช้แบรนด์อื่น เนื่องจากการบริการลูกค้าที่ไม่ดี56% ของลูกค้า จะบอกต่อประสบการณ์ที่ไม่ดีให้คนอื่นได้รู้ (ที่มา : WalkerInfo)บริษัทที่ให้ความสำคัญกับการบริการลูกค้า จะมีอัตราการเติบโตมากกว่าถึง 5 เท่า ธุรกิจส่วนใหญ่ ยอมรับว่าการบริการลูกค้ามีบทบาทสำคัญในการเติบโตและการพัฒนาของบริษัท แล้วทราบหรือไม่ว่า “การบริการลูกค้าที่ไม่ดี” สามารถส่งผลกระทบมากกว่าที่คุณคิด 81% ของลูกค้าจะเปลี่ยนไปใช้แบรนด์อื่น เนื่องจากการบริการลูกค้าที่ไม่ดี56% ของลูกค้าจะบอกต่อประสบการณ์ที่ไม่ดีให้คนอื่นได้รู้ (ที่มา : WalkerInfo)และบริษัทที่ให้ความสำคัญกับการบริการลูกค้า จะมีอัตราการเติบโตมากกว่าถึง 5 เท่า วันนี้ Demeter ICT ได้รวบรวมตัวอย่างที่พบบ่อยที่สุดของ”การบริการลูกค้าที่ไม่ดี” ที่ธุรกิจต่างๆควรทราบ และแนะนำขั้นตอนในการแก้ไข รวมถึงเรียนรู้วิธีที่ FINN MOBILE ใช้ Zendesk Support, Guide และ Chat เพื่อให้การสนับสนุนผู้ใช้แอพส่งข้อความ LINE กว่า 30 ล้านคน 7 ตัวอย่างของการบริการลูกค้าที่ไม่ดี 1. ปล่อยให้ลูกค้ารอนาน (ไม่สามารถให้การสนับสนุนแบบเรียลไทม์) “การตอบกลับทันที” เป็นสิ่งสำคัญมากเมื่อลูกค้ามีคำถาม ธุรกิจที่ให้ความสำคัญกับการ Support แบบเรียลไทม์แบบ 24/7 จะช่วยเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า สร้างลูกค้าที่ภักดีและช่วยเพิ่มรายได้ ต้องแก้ไขอย่างไร? แชทสด (Live Chat) และ แชทบอท (AI chatbots) : เป็นช่องทางการสื่อสารที่ดีที่สุดในการให้การสนับสนุนแบบเรียลไทม์ ยังช่วยในการเริ่มต้นการสนทนาเชิงรุกกับผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์และลูกค้า เพื่อให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ทีม Customer service ของ FINN MOBILE ใช้ Zendesk Chat (Live Chat) ของ Zendesk เนื่องจากช่วยให้เจ้าหน้าที่ตอบคำถามของลูกค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน ซึ่งเจ้าหน้าที่ (Agent) สามารถช่วยเหลือลูกค้าได้หลายรายพร้อมกัน และไม่จำกัดเวลาในการสนทนา 1. ปล่อยให้ลูกค้ารอนาน (ไม่สามารถให้การสนับสนุนแบบเรียลไทม์)“การตอบกลับทันที” เป็นสิ่งสำคัญมากเมื่อลูกค้ามีคำถาม ธุรกิจที่ให้ความสำคัญกับการ Support แบบเรียลไทม์แบบ...
Continue readingZendesk Sell ระบบบริหารงานขายที่ใช้ง่ายยิ่งกว่าปอกกล้วย
หากว่าคุณเป็นหนึ่งในคนทำธุรกิจที่มี Pain Points เหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็น ติดตามการทำงานของฝ่ายขายยาก ไม่รู้ว่ารับเรื่องลูกค้าถึงไหนแล้ว ประมาณการณ์ยอดขายให้แม่นยำไม่ได้ เพราะข้อมูลกระจัดกระจายกันไปหมด ข้อมูลลูกค้าสะเปะสะปะ ไม่เป็นที่เป็นทาง จะดู Sales Pipeline ก็ยาก คุณหันไปปรึกษาคุยงานกับฝ่ายขาย แต่แล้วก็พบว่าทางฝ่ายขายเองก็ประสบปัญหา มี Pain Points ยาวเหยียดไม่ต่างกัน ลูกค้าเข้ามาหลายช่องทาง กว่าจะบันทึกข้อมูลลงเครื่องก็แสนจะยุ่งยาก ไม่มีเครื่องมือช่วยที่แน่นอน บริหารจัดการไม่ได้ ประสานงานกันไม่ดี ไม่รู้ Sales Stage หรือ Customer Journey ว่าลูกค้าติดต่อผ่านใครมาก่อนบ้างแล้ว วัดผลการทำงานยาก ประเมินยอดขายก็ยาก เพราะไม่มีเครื่องมือช่วยวิเคราะห์ทำรายงาน ในทุก Pain Points แทบจะมีคำว่า ‘ยาก’ อยู่เต็มไปหมด ดูเผิน ๆ อาจจะถูกมองว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ทราบหรือไม่อะไรที่เหมือนเล็กน้อยแบบนี้เองที่ทำให้การทำงานขาดความเป็นระบบ ไม่เป็นมืออาชีพ และยังตัดโอกาสล่มดีลจนสูญเสียยอดขายที่ควรจะได้อีกด้วย ดังนั้นในบทความนี้ เราจะมาทำความรู้จัก Zendesk Sell ซอฟต์แวร์ Sales CRM ช่วยบริหารจัดการงานขายแบบครบวงจร มีชื่อเสียงเลื่องลือเรื่องดีไซน์เรียบง่ายแต่ฟังก์ชันครบครัน ให้การบริหารงานขายของคุณง่ายยิ่งกว่าปอกกล้วยกัน 01 ไม่พลาดทุกการติดต่อ ระบบอีเมลอัจฉริยะ แจ้งเตือนแบบพุชเรียลไทม์ให้คุณติดต่อลูกค้ากลับได้ถูกเวลา เก็บทุกข้อมูลเหตุการณ์ลงใน Zendesk Sell ทันทีไม่ว่าลูกค้าจะส่งข้อความจากอีเมลหรือช่องทางอื่นที่เชื่อมกับ Zendesk Sell มาพร้อมระบบที่จะช่วยจัดเก็บเอกสารหรือการติดต่อทุกอย่าง ให้คุณนำข้อมูลมาหาแนวทางในการเพิ่มยอดขายให้บริษัทได้ รวมถึงสร้าง Template อีเมลแบบไร้ข้อจำกัด ลดเวลาการทำงานซับซ้อนที่ไม่จำเป็น 02 ต่อสายตรงหาลูกค้าในไม่กี่คลิก ระบบโทรสายที่จะทำให้ชีวิตของฝ่ายขายง่ายขึ้น ต่อสายหาลูกค้าง่าย ๆ ในไม่กี่คลิก เก็บรวบรวมทุกประวัติการโทรและบันทึกทุกอย่างที่คุณได้พูดคุยกับลูกค้าไว้อย่างละเอียดไม่มีตกหล่น จะนำข้อมูลมาอ้างอิงในภายหลังหรือนำมาจุดบกพร่องเพื่อพัฒนาตนเองก็สามารถทำได้ พร้อม Call Analytics ที่ช่วยออกรายงานเป็นผลการชี้วัดให้อย่างทันท่วงที 03 อยู่ที่ไหนก็เชื่อมถึงกันได้ ตอบโจทย์วิถีชีวิต New Normal เพราะระบบของ Zendesk Sell สามารถซิงค์ได้ทุกที่ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างแอปพลิเคชัน Zendesk ไว้ใช้ในองค์กร เชื่อมต่อกับเครื่องมืออื่น...
Continue reading5 เคล็ดลับ อยากมี Live Chat บนเว็บไซต์ต้องทำอย่างไร?
– ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับ Live Chat กันก่อน – Live Chat คือ เครื่องมือสื่อสารทางออนไลน์รูปแบบหนึ่งที่สามารถเพิ่มลงบนหน้าเว็บไซต์ของคุณ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ที่เข้าชมเว็บไซต์ หรือร้านค้าต่าง ๆ บนช่องทางออนไลน์สามารถมีส่วนร่วมกับบริษัทของคุณได้ ไม่ว่าจะเป็น การถาม-ตอบ ในเวลาที่ลูกค้าต้องการความช่วยเหลือ หรือมีข้อสงสัยที่ต้องการข้อมูลคำตอบจากคุณ หรือจะเป็นการสอบถามว่าลูกค้าพบเจอปัญหาอะไรไหม มีอะไรให้ช่วยไหมนั่นเอง และผลวิจัยจาก Zendesk ผู้นำทางด้าน Customer Service Software พบว่า ลูกค้าที่ Live Chat มาหาร้านค้ามีโอกาสซื้อสินค้ามากกว่าลูกค้าที่ไม่แชทเข้ามาถึง 3 เท่า ดังนั้นหากคุณเป็นร้านค้าที่ยังไม่มีช่องทาง Live Chat ให้กับลูกค้าของคุณ ต้องห้ามพลาด! วันนี้เรามีเคล็ดลับจากผู้เชี่ยวชาญที่จะนำมาบอกวิธีเตรียมตัวเพื่อเพิ่มช่องทาง Live Chat มาแนะนำ ต้องแอคทีฟที่จะช่วยซัพพอร์ตลูกค้า หรือ ใช้ซัพพอร์ตลูกค้าในเชิงรุก สำหรับธุรกิจส่วนใหญ่การซัพพอร์ตลูกค้า เป็นกระบวนการที่เอาไว้ตอบสนองเมื่อลูกค้าพบปัญหาเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการของเรา และพวกเขาจะติดต่อมาเพื่อขอวิธีแก้ปัญหา และทางร้านค้าก็ตอบกลับไป แต่การ Live Chat สามารถทำงานย้อนกลับได้ แทนที่จะรอให้ลูกค้าติดต่อมาเมื่อเจอปัญหา คุณสามารถให้ความช่วยเหลือก่อนได้ เพื่อสร้างความประทับใจ ความห่วงใย และประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า ค้นหาว่าลูกค้าของคุณอยู่ที่ไหน ไม่ว่าจะเป็น Website, Social Media หรือช่องทางแชทอื่น ๆ ที่ช่วยให้สนทนากันระหว่างร้านค้ากับลูกค้าอย่างรวดเร็วเป็นที่นิยมมาก และส่งผลให้เปลี่ยนพฤติกรรมในการสื่อสารของคนในปัจจุบันไป เพราะเป็นการสื่อสารที่สะดวก ง่าย และที่สำคัญประหยัดกว่าการโทรศัพท์ เพราะไม่ว่าคุณจะอยู่ที่มุมไหนของโลกก็สามารถสื่อสารกันได้ ไม่ต้องมีค่าพื้นที่ต่างประเทศ ดังนั้นจึงยิ่งเหมาะกับธุรกิจในการช่วยลดต้นทุนอีกด้วย เพิ่มความยืดหยุ่นในการสื่อสาร และ โฟกัสที่ความต้องการของลูกค้า หากคุณมีพนักงานที่คอยดูแลและพูดคุยกับลูกค้าหลายคน ก็อาจจะทำให้เจอปัญหาเวลาที่คนนึงคุยกับลูกค้าค้างไว้ แล้วจะให้พนักงานคนอื่นมาตอบแทนก็อาจจะทำให้เกิดความสับสนหรือความผิดพลาดเกิดขึ้นได้ ดังนั้นคุณควรจะหา Platform ที่สามารถเก็บ และบันทึกข้อมูลของลูกค้าได้แบบ Real-time ไม่ว่าใครจะมาตอบก็สามารถเห็นข้อมูลที่คุยกันไว้ หรือข้อมูลที่คนก่อนคุยไว้ได้อย่างง่ายดาย เพิ่มความยืดหยุ่นในการทำงาน แล้วเอาเวลาที่เราต้องมานั่งถามข้อมูลลูกค้าใหม่ทุกรอบมาโฟกัสที่ความต้องการของลูกค้าจริง ๆ เลือกหาตำแหน่งที่เหมาะสมให้กับเว็บไซต์ของคุณ การเลือกตำแหน่งช่องทาง Live Chat ก็เป็นสิ่งสำคัญไม่แพ้กัน เพราะถ้าลูกค้าต้องการที่จะขอความช่วยเหลือ เขาควรที่จะติดต่อเรามาได้ง่ายดายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และยังเป็นเพิ่มโอกาสในการที่ลูกค้าจะแชทมาหาทางทีมซัพพอร์ตได้ง่ายขึ้น และเพื่อเพิ่มการขายได้อีกด้วย ตั้งเป้าหมายการมี...
Continue reading5 วิธีสร้างกลยุทธ์การขายแบบ Step-By-Step ง่าย ๆ แต่ผลลัพธ์ปัง
กว่าวิศวกรจะสร้างตึกให้มั่นคงได้ต้องมีแบบแปลนที่ดีเสียก่อนฉันท์ใด การจะสร้างยอดขายให้ประสบความสำเร็จได้ก็ต้องรู้จักใช้กลยุทธ์การขายฉันท์นั้น ในบทความนี้ เราจะมาดูวิธีสร้างกลยุทธ์การขาย ให้คุณนำไปประยุกต์ทำเองได้จาก Zendesk กัน – กลยุทธ์การขายคืออะไร – กลยุทธ์การขาย (Sales Strategy) คือ การวางแผนที่จะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อขายสินค้า ตลอดจนยอดขายที่ตั้งเป้าเอาไว้และรายละเอียดการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ การมีกลยุทธ์การขายช่วยให้ฝ่ายขายมีกำหนดหมายงานที่ชัดเจน และมีวิสัยถึงสิ่งที่ตนต้องทำในระยะยาว ดังนั้นการสร้างกลยุทธ์การขายเองควรจะทำอย่างครอบคลุม มีการค้นคว้าอย่างถ่องแท้ และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง เรามาดูวิธีสร้างกลยุทธ์การขายกัน 1. ระบุยอดเป้าหมาย หากจะขายสินค้าให้ได้ผลตอบรับดี ก่อนอื่นก็ต้องตั้งเป้าหมายให้มั่นคงเสียก่อน โดยเริ่มจากวิธีดังนี้ ประเมินสินทรัพย์ขององค์กรว่าจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรใดเพิ่มเติมหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นบุคลากร หรืออาจจะเป็นเครื่องมือต่าง ๆ อย่างซอฟต์แวร์ CRM ที่ช่วยบริหารจัดการ Sales Pipeline ให้ดีขึ้น ทำให้มั่นใจว่าทุกองค์ประกอบมีครบก่อนวางแผน ทบทวนข้อมูลประวัติการขายของลูกค้า ใช้ข้อมูลนี้ตั้งเป้าหมายที่อยู่ในขอบเขตที่จะทำได้ ใช้ S.M.A.R.T. โมเดลเข้าช่วยในการตั้งเป้าหมาย ตัวอย่างเช่น “เพิ่มขนาดดีล 35%” หรือ “บรรลุยอดขาย 1 ล้านในปีนี้” เป็นต้น 2. สำรวจตลาดให้ดี การทำความเข้าใจเรื่องมูลค่าแบรนด์ในตลาดถือเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมาก หากไม่รู้ว่าแบรนด์ของคุณจะช่วยมอบคุณค่าใดให้กับผู้ซื้อได้บ้าง ก็เป็นการยากที่จะจูงใจลูกค้าให้ซื้อสินค้าหรือบริการของคุณ หนึ่งในวิธียอดนิยมที่มักใช้วิเคราะห์ตลาด ก็คือ SWOT Analysis SWOT Analysis ประกอบด้วยการวิเคราะห์จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และภัยคุกคาม (Threats) ลองตั้งคำถามว่าสินค้าของคุณตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้จริง ๆ หรือไม่? Value Preposition ที่มีคืออะไร? อะไรที่เป็นอุปสรรคทั้งภายนอกภายในที่อาจทำให้ล้มเหลว? การวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้คุณเข้าใจภาพรวมมากขึ้น และเป็นการทบทวนถึงโอกาสการขายให้ดีขึ้นกว่าเดิม 3. สร้าง Customer Personas เมื่อเข้าใจเรื่องตลาดเป้าหมายแล้ว สิ่งต่อไปที่ต้องทำก็คือทำความเข้าใจลูกค้าในอุดมคติที่จะซื้อสินค้าเรา ในที่นี้สามารถทำได้โดยการสร้าง Buyer Persona เริ่มจากการแบ่งกลุ่มเป็น segment ต่าง ๆ และใส่ข้อมูลเพิ่มเติมไปในหัวข้อดังนี้ จำลองชื่อและตำแหน่ง เช่น “Dana Matthews, CPA” จำลองว่าอยู่อุตสาหกรรมไหน...
Continue readingเจาะลึก Customer Experience คืออะไร?
Customer Experience (CX) คือ ประสบการณ์ของลูกค้า แต่ถ้าจะขยายความในเชิงลึกก็หมายถึง ประสบการณ์ที่ลูกค้าได้พบเจอกับร้านค้าต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสินค้า การบริการ อาจจะได้รับประสบการณ์ที่ดี หรือไม่ดีก็ได้ขึ้นอยู่กับร้านค้านั้นๆ ซึ่งมันก็จะส่งผลโดยตรงต่อการตัดสินใจในการบริโภคของลูกค้าในการซื้อสินค้าและบริการต่อๆไปในอนาคต เมื่อพูดถึงการทำธุรกิจลูกค้าหรือผู้บริโภค เป็นสิ่งที่เราควรให้ความสำคัญที่สุด เพราะพวกเขาเป็นผู้ที่ให้ผลตอบแทน และสร้างผลกำไร เพื่อให้ธุรกิจของเราเติบโตและพัฒนาต่อไปได้ ดังนั้นการที่เรารู้ถึง Customer Experience ที่ลูกค้าเคยพบเจอ รวมไปถึงรู้ความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าได้นั้น ก็จะช่วยการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า รวมไปถึงอาจจะสร้างความภักดีต่อแบรนด์ (Brand Loyalty) ซึ่งก็เป็นผลประโยชน์ที่ได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่ายไม่ว่าจะร้านค้าและลูกค้า เพราะลูกค้าก็คงได้รับประสบการณ์ที่ดีจากร้านค้า ส่วนร้านค้าก็ได้รับลตอบแทนจากลูกค้า และก็คงไม่มีธุรกิจไหนที่อยากสร้างประสบการณ์ที่แย่ให้กับลูกค้าอยู่แล้ว ซึ่งจริงๆแล้วการที่ร้านค้าจะมอบ Customer Experience ที่ดีให้กับลูกค้ามันก็ไม่ใช่เรื่องยากอะไรนัก เพียงแค่คุณนึกว่าตัวเองเป็นลูกค้าหรือผู้บริโภคดูว่า ถ้าคุณเป็นเหมือนกับเขาคุณต้องการอะไรบ้าง เช่น สินค้าที่มีคุณภาพเหมาะสมกับราคา การบริการที่ดีและเอาใจใส่อยู่เสมอตั้งแต่ต้นจนจบ การบริการที่ดีมันมีอยู่หลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น การบริการและแก้ปัญหาที่รวดเร็ว, มีหลายช่องทางที่รองรับการติดต่อที่ลูกค้าสะดวก, แก้ปัญหาของลูกค้าได้อย่างตรงจุด และอื่น ๆ อีกมากมาย หากคุณทำแค่ร้านเล็กๆ มันก็อาจจะดูแลง่าย ทำคนเดียวได้ ปัญหาก็อาจจะไม่มากนัก แต่ถ้าหากคุณต้องการที่จะเติบโตและขยายธุรกิจให้กว้างขึ้น มันอาจจะไม่ได้ง่ายเหมือนที่คุณคิด มันอาจจะเจอปัญหาที่มากขึ้นตามไปด้วย เพราะฉะนั้นคุณควรเลือกใช้กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพเพื่อพร้อมสำหรับการขยายธุรกิจไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ โดยคุณควรมองหาเครื่องมือหรือตัวช่วยที่มาปรับกระบวนการทำงานให้ง่าย รวดเร็ว แล้วยังเป็นเครื่องมือที่บริษัทหลายๆบริษัททั้งในไทยและต่างประเทศใช้กันอย่างแพร่หลายนั่นก็คือ Zendesk Zendesk คือ Customer Service Software ที่จะช่วยปรับหรืออัพเกรดการบริการของลูกค้าของคุณให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ไม่ว่าจะเรื่องการรวบรวมช่องทางการติดต่อของลูกค้า (Omnichannel), การบันทึกประวัติหรือข้อมูลของลูกค้าทั้งหมด, สามารถบริการลูกค้าอย่างมืออาชีพที่ไหนก็ได้, และยังสามารถส่งต่องานให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงได้อย่างรวดเร็ว และยังมีฟีเจอร์อื่น ๆ อีกมากมาย ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกเลย ทดลองใช้ Zendesk trial ฟรี สอบถาม ราคา Zendesk ติดต่อบริษัท ดีมีเตอร์ ไอซีที จำกัด ผู้ให้บริการระบบ Zendesk ในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ – Zendesk Thailand Partner สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ราคา Zendesk พร้อมโปรโมชันพิเศษ โทร. 02-030-0066 096-804-5482 (คุณยิ่ว), 097-187-7302 (คุณเล็ก), 092-262-0475...
Continue readingBitkub ลงทุนใช้ Zendesk ซอฟต์แวร์ในการดูแลลูกค้า24ชั่วโมง!
Bitkub ลงทุนใช้ Zendesk ซอฟต์แวร์ ในการดูแลลูกค้า 24 ชั่วโมง! คุณพบปัญหาแบบนี้หรือเปล่า? Pain points Pain point ลูกค้า เจ้าหน้าที่ตอบช้า เจ้าหน้าที่บริการไม่เป็นมิตร ต้องเล่าปัญหาเดิมซ้ำๆ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ ไม่มีบันทึกประวัติลูกค้า ทำให้เราต้องเล่าปัญหาใหม่ทุกครั้ง เจ้าหน้าที่ตอบคำถามไม่ได้ Agent , เจ้าหน้าที่ ไม่มีข้อมูลลูกค้า ไม่มีข้อมูลประวัติการติดต่อ ทำให้ต้องตอบเรื่องเดิมซ้ำๆ ทำงานหลายหน้าต่าง ทำงานซ้ำซ้อน เช่น ลูกค้าคนเดียวกัน ทักหาเพื่อถามคำถามเดิมจากหลายช่องทางออนไลน์ เจ้าหน้าที่ตอบคำถามไม่ได้ เพราะไม่มีข้อมูลในการตอบคำถาม ใช้เวลาตอบคำถามนาน ทำให้บริการลูกค้าช้า ธุรกิจ ไม่รู้ว่าลูกค้าได้รับบริการครบถ้วนไหม ไม่รู้จำนวนเคสที่เข้ามา ไม่รู้จำนวนเคสที่แก้ไขแล้ว หรือ ที่ยังไม่ได้แก้ ไม่รู้ระยะเวลาที่ใช้แก้แต่ละเคส ไม่รู้ว่าตอนนี้ปัญหา อยู่ที่เจ้าหน้าที่คนไหน ไม่รู้ว่าเจ้าหน้าที่ ทำงานมีคุณภาพแค่ไหน ต้องการลดต้นทุนการให้บริการ ที่มาจากช่องทางโทรศัพท์ ต้องการ Support ลูกค้าจำนวนมาก พนักงานเยอะ ต้องการ Support ภายใน ลูกค้า เจ้าหน้าที่ตอบช้า เจ้าหน้าที่บริการไม่เป็นมิตร ต้องเล่าปัญหาเดิมซ้ำๆ ไม่ว่าช่องทางเดิม หรือช่องทางใหม่ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ ไม่มีบันทึกประวัติลูกค้า ทำให้เราต้องเล่าปัญหาใหม่ทุกครั้ง เจ้าหน้าที่ตอบคำถามไม่ได้ Agent , เจ้าหน้าที่ ไม่มีข้อมูลลูกค้า ไม่มีข้อมูลประวัติการติดต่อ ทำให้ต้องตอบเรื่องเดิมซ้ำๆ ทำงานหลายหน้าต่าง ทำงานซ้ำซ้อน เช่น ลูกค้าคนเดียวกัน ทักหาเพื่อถามคำถามเดิมจากหลายช่องทางออนไลน์ เจ้าหน้าที่ตอบคำถามไม่ได้ เพราะไม่มีข้อมูลในการตอบคำถาม ใช้เวลาตอบคำถามนาน ทำให้บริการลูกค้าช้า ธุรกิจ ไม่รู้ว่าลูกค้าได้รับบริการครบถ้วนไหม ไม่รู้จำนวนเคสที่เข้ามา ไม่รู้จำนวนเคสที่แก้ไขแล้ว หรือ ยังไม่ได้แก้ ไม่รู้ระยะเวลาที่ใช้แก้แต่ละเคส / ไม่รู้ first reply time ไม่รู้ว่าตอนนี้ปัญหา อยู่ที่เจ้าหน้าที่คนไหน ไม่รู้ว่าเจ้าหน้าที่ทำงานมีคุณภาพแค่ไหน ต้องการลดต้นทุนการให้บริการ ที่มาจากช่องทางโทรศัพท์ ต้องการ Support ลูกค้าจำนวนมาก พนักงานเยอะ ต้องการ...
Continue reading5 เหตุผล ทำไมธุรกิจต้องมี Sales CRM
หากพูดถึง CRM (Customer Relationship Management) หลายคนอาจนึกไปถึงซอฟตแวร์หรือเครื่องมือสักอย่างที่ช่วยในการบริหารและพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างแบรนด์กับลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น ทว่าแม้แต่ CRM เองก็สามารถแบ่งแยกออกไปได้อีกหลายประเภท ขึ้นอยู่กับว่าต้องการใช้ CRM กับเนื้องานใด ทีมซัพพอร์ตอาจใช้ CRM ในการจัดการ Tickets หรือคำร้องที่ถูกส่งเข้ามา ฝ่ายการตลาดอาจใช้ CRM ในการวิเคราะห์ผลตอบรับจากแคมเปญออนไลน์ ขณะที่ฝ่ายขายหรือ Sales มักใช้ CRM ในการปรับปรุง Sales Pipeline (ระบบการวางแผนการขาย) เรามาดู 5 เหตุผลว่าทำไมถึงต้องใช้ Sales CRM กัน 1. ลดความซ้ำซ้อน Sales CRM เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้บริหาร Touchpoint ของลูกค้าผ่านกระบวนการขาย ซึ่ง Touchpoint ในที่นี้ อาจจะเป็นทั้งการมีปฏิสัมพันธ์ทางตรงหรือทางอ้อมกับลูกค้าก็เป็นได้ เครื่องมือ Sales CRM จะช่วยติดตามทุกการสื่อสารต่างๆ นำข้อมูลมาจัดเรียงให้โดยอัตโนมัติ ทั้งส่งแจ้งเตือนกำหนดการในการ follow up leads และอีกมากมาย Sales CRM ยังช่วยลดความยุ่งยากในส่วนของการดูแลลูกค้าเป้าหมาย เมื่อไม่ต้องมานั่งเสียเวลาเรื่องการกรอกเก็บข้อมูลพนักงาน ฝ่ายขายก็สามารถโฟกัสไปที่การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับกลุ่มผู้ที่สนใจผลิตภัณฑ์ได้ง่ายขึ้น 2. ระบบการขายแบบรวมศูนย์กลาง พนักงานแผนกขายใช้เวลาเป็นวันในการทำทุกอย่างตั้งแต่รีเสิรช์ยันติดต่อเพื่อดีลกับฝ่ายจัดสรรและฝ่ายขายหน้าร้าน ทางเมเนเจอร์เองก็ยุ่งวุ่นวายกับการมอนิเตอร์เพอฟอแมนซ์ บริหารคลังสินค้า ไหนจะต้องให้คำแนะนำทีมอีก เมื่อไม่มีระบบศูนย์รวมที่ช่วยจัดการงานแต่ละงาน อะไรที่อาจถูกมองว่าเล็กน้อยก็กลายเป็นเรื่องยุ่งยากในแผนกที่นำไปสู่ความไม่มีระเบียบแบบแผนได้ Sales CRM จึงมักถูกออกแบบขึ้นมาในรูปแบบของ one-stop solution ให้รองรับกับการทำงานในแต่ละวัน สามารถบูรณะเข้ากับเครื่องมืออื่นที่กำลังใช้งานอยู่ตลอดจนช่องทางสื่อสารต่างๆ มากมาย ให้การจัดการงานทั้งหมดสามารถทำครบจบในแพลตฟอร์มเดียว การมีระบบที่รวมศูนย์กลางนี้ยังช่วยให้องค์กรมีรากฐานที่น่าเชื่อถือ พนักงานฝ่ายขายสามารถหาข้อมูล Lead ได้แม่นยำและง่ายดายยิ่งขึ้น ทั้งข้อมูลเก่าต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการติดตามหรือปิดดีลลูกค้า และยังสามารถเข้าถึงช่องทางสื่อสารอื่นขององค์กรไม่ว่าจะเป็นอีเมล โทรศัพท์ กระทั่งกล่องแชทบนเว็บไซต์ ไม่ต้องยุ่งยากสลับหน้าจอไปมาให้น่าเวียนหัวอีกต่อไป 3. ปรับปรุงข้อมูลลูกค้าให้แม่นยำยิ่งขึ้น หลายครั้งที่การกรอกข้อมูลที่ซ้ำซ้อนไปมามากๆ นำไปสู่ความผิดพลาดได้ Sales CRM ช่วยลดข้อผิดพลาดเหล้านั้นด้วยระบบที่บันทึกทุก action ของพนักงานแบบอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยหรือส่งอีเมลก็บันทึกไว้ได้หมด โดยเฉพาะถ้าใช้ Zendesk...
Continue readingอยากรวมช่องทาง Facebook, Line และอื่นๆ ต้องทำอย่างไร?
อยากรวมช่องทาง Facebook, Line และอื่นๆ ต้องทำอย่างไร? หากคุณกำลังมองหาเครื่องมือที่จะมาช่วยในการรวบรวมช่องทางการติดต่อของลูกค้าจากช่องทางต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น Line, Facebook, Email, Twitter, Whatsapp, WeChat และอื่นๆอีกมากมายนั้น คุณมาถูกที่แล้ว วันนี้ Demeter ICT จะมาแนะนำเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณรวบรวมช่องทางเหล่านั้นให้ง่ายขึ้น โดยเครื่องมือที่เรากำลังพูดนั้น มีชื่อว่า Zendesk เจ้า Zendesk คือ Customer Service Software หรือก็คือ ซอฟต์แวร์ที่จะมาช่วยในเรื่องของการบริการของลูกค้าให้ดีและมีประสิทธิมากยิ่งขึ้น โดยที่จุดเด่นของ Zendesk นั้น คือ การรวบรวมช่องทางการติดต่อของลูกค้าจากช่องทางต่าง ๆ หรือ ที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยได้ยินคำว่า Omnichannel ซึ่ง Pain Points หลัก ๆ ของบริษัทที่ใช้ Zendesk ยกตัวอย่างเช่น ต้องการผสานช่องทางต่าง ๆ ของลูกค้าไว้ในที่เดียว หรือที่เรียกว่า Omnichannel ต้องการเก็บรวบรวมข้อมูลของลูกค้าที่ติดต่อเข้ามาไว้ในระบบ โดยที่เวลาลูกค้าติดต่อมาอีกในครั้งหน้าจะได้ไม่ต้องสอบถามข้อมูลลูกค้าอีกรอบให้เสียเวลา และสามารถนำข้อมูลของลูกค้าไปต่อยอดทางธุรกิจได้ มี Admin หรือ Agent ในการตอบลูกค้าหลายคน จึงต้องการ track ข้อมูลให้ชัดเจนเพื่อให้เช็คได้ว่าใครคุยถึงไหนแล้ว ใครเป็นคนตอบลูกค้า เพื่อให้ง่ายต่อการเช็คและตรวจสอบ (ซึ่งบางบริษัทก็ใช้เอาไว้ติดต่อกันภายในองค์กรก็สามารถทำได้เช่นกัน เช่น เวลาส่งเรื่องไปให้ทีมต่าง ๆ ก็จะง่ายและสะดวกในการติดตามมากยิ่งขึ้น) ต้องการที่จะวัดผล ประเมินผลของพนักงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ Zendesk มีการวัดผลของผู้ที่ใช้ระบบ และสามารถสร้างเป็น Report ให้ดูได้แบบง่ายดาย ต้องการดู Report ของลูกค้าที่ติดต่อเข้ามาได้อย่าง Real-time เพื่อปรับกลยุทธ์ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับบริษัทได้อย่างรวดเร็วและทันที หากคุณมี Pain Points บางข้อหรือหลายๆข้อที่ตรงกับผู้ที่ใช้ Zendesk ด้านบน ก็บอกได้เลยว่า วันนี้พวกคุณเจอทางออกแล้ว เพราะ Zendesk จะมาช่วยแก้ Pain Points...
Continue readingDigital Transformation คืออะไร สำคัญแค่ไหนต่อการทำธุรกิจ?
เมื่อคำว่า ‘ดิจิทัล’ ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป ธุรกิจก็ต้องหาหนทางปรับตัวตาม ในยุคที่เศรษฐกิจดิจิทัลมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และความคาดหวังของลูกค้าเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง Digital Transformation เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจเอาตัวรอดจากความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ไปได้ ล่าสุด Gartner เผยว่า ไวรัสโควิด-19 ที่ระบาดหนักในปี 2020 ได้ทำให้หลายองค์กรหันมาสนใจการทำ Business Transformation มากขึ้นเป็นประวัติการณ์ แตกต่างจากการคาดการณ์ไทมไลน์เดิมซึ่งใช้ระยะเวลาเป็นปีเหลือเพียงหลักสัปดาห์ แล้ว Digital Transformation คืออะไร? Digital Transformation (DX) คือ การนำเทคโนโลยีและกลยุทธ์ทางดิจิทัลเข้ามาใช้ในการวางรากฐาน เป้าหมาย การดำเนินธุรกิจ ตลอดจนขั้นตอนการทำงานและวัฒนธรรมขององค์กร ตัวอย่างของ Digital Transformation IT modernization หรือ การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น Cloud Computing การ Reskill พนักงาน การนำเครื่องมือดิจิทัลเข้ามาปรับใช้ เช่น ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เข้ามาช่วยทำงาน เพื่อที่พนักงานจะสามารถโฟกัสกับงานที่เน้นใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการแก้ปัญหา อื่นๆ ได้มากขึ้น การใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ในการค้นคว้าหาวิธีแก้ Pain Points ของลูกค้า การปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อให้รับกับความต้องการของลูกค้าให้มากขึ้น การปรับสภาพองค์กรให้รองรับการทำงานแบบ Remote-Working 3 เสาหลักในการทำ Digital Transformation 1. คน (People) Digital Transformation เริ่มต้นจากผู้คน เพราะประสบการณ์ของพนักงานและประสบการณ์ที่ลูกค้าจะได้รับมีส่วนที่เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกัน ดังนั้นในขั้นตอนแรก เราจึงต้องรู้ก่อนว่าในสิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง และความรู้สึกของพนักงานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ยกตัวอย่างเช่น หากว่าคุณจะนำเทคโนโลยีเอไอเข้ามาช่วยในแผนก Customer Service ทำให้พนักงานรู้สึกกังวลว่าตนจะตกงาน ผู้เป็นหัวหน้าก็ควรสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน “ถ้าเราสามารถขจัดความกังวลของคนอื่น ให้พวกเขารู้สึกได้ว่าเสียงของพวกเขามีค่า ก็จะช่วยให้เขาพร้อมจะก้าวรับความเปลี่ยนแปลงได้ง่ายขึ้น” – Dana Otto, Senior Manager, Change Management, Zendesk กล่าว 2. กระบวนการ...
Continue reading